คำคล้องจอง
คำคล้องจอง คือ คำที่ใช้สระหรือพยัญชนะเสียงเดียวกัน และถ้ามีตัวสะกดจะต้องมีตัวสะกดในมาตราเดียวกัน คำคล้องจองเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคำสัมผัส
คำคล้องจองมีหลายลักษณะ ในชั้นเรียนนี้จะกล่าวถึงคำคล้องจอง ๒ คำ และคำคล้องจอง ๓ คำ
ชั่วนา ตาปี (นา คล้องจองกับ ตา)
คอขาด บาดตาย (ขาด คล้องจองกับ บาด)
รู้มาก ยากนาน (มาก คล้องจองกับ ยาก)
ไว้เนื้อ เชื่อใจ (เนื้อ คล้องจองกับ เชื่อ)
หมูไป ไก่มา (ไป คล้องจองกับ ไก่)
คำคล้องจอง ๓ คำ เช่น
ต่อความยาว สาวความยืด (ยาว คล้องจองกับ สาว)
ขิงก็รา ข่าก็เเรง (รา คล้องจองกับ ข่า)
ยิ้มด้วยปาก ถากด้วยตา (ปาก คล้องจองกับ ถาก)
ยุให้รำ ตำให้รั่ว (รำ คล้องจองกับ ตำ)
ฝนสั่งฟ้า ปลาสั่งหนอง (ฟ้า คล้องจองกับ ปลา)
คำคล้องจอง คือ คำที่ใช้สระหรือพยัญชนะเสียงเดียวกัน และถ้ามีตัวสะกดจะต้องมีตัวสะกดในมาตราเดียวกัน คำคล้องจองเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคำสัมผัส
คำคล้องจองมีหลายลักษณะ ในชั้นเรียนนี้จะกล่าวถึงคำคล้องจอง ๒ คำ และคำคล้องจอง ๓ คำ
ชั่วนา ตาปี (นา คล้องจองกับ ตา)
คอขาด บาดตาย (ขาด คล้องจองกับ บาด)
รู้มาก ยากนาน (มาก คล้องจองกับ ยาก)
ไว้เนื้อ เชื่อใจ (เนื้อ คล้องจองกับ เชื่อ)
หมูไป ไก่มา (ไป คล้องจองกับ ไก่)
คำคล้องจอง ๓ คำ เช่น
ต่อความยาว สาวความยืด (ยาว คล้องจองกับ สาว)
ขิงก็รา ข่าก็เเรง (รา คล้องจองกับ ข่า)
ยิ้มด้วยปาก ถากด้วยตา (ปาก คล้องจองกับ ถาก)
ยุให้รำ ตำให้รั่ว (รำ คล้องจองกับ ตำ)
ฝนสั่งฟ้า ปลาสั่งหนอง (ฟ้า คล้องจองกับ ปลา)
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น